ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สร้าง ubuntu router"
จาก Wiki Opensource
แถว 9: | แถว 9: | ||
#ให้ใส่ LAN card ใน PC เพียงใบเดียวก่อน แล้วติดตั้ง ubuntu server ตามคำแนะนำใน [[ติดตั้ง ubuntu server|ติดตั้ง ubuntu server]]<br><br> | #ให้ใส่ LAN card ใน PC เพียงใบเดียวก่อน แล้วติดตั้ง ubuntu server ตามคำแนะนำใน [[ติดตั้ง ubuntu server|ติดตั้ง ubuntu server]]<br><br> | ||
− | #ตั้งค่า eth0 ให้มี ip ตามต้องการ ตัวอย่างนี้สมมติว่าเป็นเลข 192.168.0.10 , มี gateway เป็น 192.168.0.1, มี dns เป็น 192.168.0.12<br>ให้ตั้งค่าในแฟ้ม /etc/network/interfaces เป็นตัวอย่างประมาณว่า<br>auto eth0<br>iface eth0 inet static<br>address 192.168.0.10<br>netmask 255.255.255.0<br>gateway 192.168.0.1<br><br>ให้ตั้งค่าในแฟ้ม /etc/resolv.conf เป็นตัวอย่างประมาณว่า<br>nameserver 192.168.0.11<br><br>แล้วสั่งให้ network ทำงานใหม่ด้วยคำสั่ง sudo /etc/init.d/networking restart ทดสอบให้มั่นใจว่าใช้งาน network ได้ดี <br><br> | + | #ตั้งค่า eth0 ให้มี ip ตามต้องการ ตัวอย่างนี้สมมติว่าเป็นเลข 192.168.0.10 , มี gateway เป็น 192.168.0.1, มี dns เป็น 192.168.0.12<br>ให้ตั้งค่าในแฟ้ม /etc/network/interfaces เป็นตัวอย่างประมาณว่า<br>auto eth0<br>iface eth0 inet static<br>address 192.168.0.10<br>netmask 255.255.255.0<br>gateway 192.168.0.1<br><br>ให้ตั้งค่าในแฟ้ม /etc/resolv.conf เป็นตัวอย่างประมาณว่า<br>nameserver 192.168.0.11<br><br>แล้วสั่งให้ network ทำงานใหม่ด้วยคำสั่ง sudo /etc/init.d/networking restart ทดสอบให้มั่นใจว่าใช้งาน network ได้ดี <br><br> |
− | #ปิดเครื่อง PC แล้วเสียบ LAN card เพิ่มเข้าไปใน PC แล้วให้บูทเครื่อง PC นี้ใหม่<br><br>ตั้งค่า eth1 ให้มี ip ตามต้องการ ตัวอย่างนี้สมมติว่าเป็นเลข 10.0.3.1<br>ให้ตั้งค่าในแฟ้ม /etc/network/interfaces เป็นตัวอย่างประมาณว่า<br>auto eth1<br>iface eth1 inet static<br>address 10.0.3.1<br>netmask 255.255.255.0<br><br>แล้วสั่งให้ network ทำงานใหม่ด้วยคำสั่ง sudo /etc/init.d/networking restart ทดสอบให้มั่นใจว่าใช้งาน network ได้ดี <br> | + | #ปิดเครื่อง PC แล้วเสียบ LAN card เพิ่มเข้าไปใน PC แล้วให้บูทเครื่อง PC นี้ใหม่<br><br>ตั้งค่า eth1 ให้มี ip ตามต้องการ ตัวอย่างนี้สมมติว่าเป็นเลข 10.0.3.1<br>ให้ตั้งค่าในแฟ้ม /etc/network/interfaces เป็นตัวอย่างประมาณว่า<br>auto eth1<br>iface eth1 inet static<br>address 10.0.3.1<br>netmask 255.255.255.0<br><br>แล้วสั่งให้ network ทำงานใหม่ด้วยคำสั่ง sudo /etc/init.d/networking restart ทดสอบให้มั่นใจว่าใช้งาน network ได้ดี <br><br> |
+ | #หากต้องการให้ eth1 ทำตัวเป็น dhcp server ด้วย ให้ทำดังนี้<br>ติดตั้ง dhcpd ด้วยคำสั่ง sudo apt-get install dhcp3-server<br><br> |
รุ่นปรับปรุงเมื่อ 15:24, 20 เมษายน 2552
บันทึกนี้ปรับปรุงล่าสุดเมื่อวันที่ 20-04-2552
ดูแลโดย WIPAT
- ทดสอบกับ ubuntu 8.0.4
- ตัวอย่างนี้เป็นการสร้าง PC router ที่ใช้ ubuntu
- ให้ใส่ LAN card ใน PC เพียงใบเดียวก่อน แล้วติดตั้ง ubuntu server ตามคำแนะนำใน ติดตั้ง ubuntu server
- ตั้งค่า eth0 ให้มี ip ตามต้องการ ตัวอย่างนี้สมมติว่าเป็นเลข 192.168.0.10 , มี gateway เป็น 192.168.0.1, มี dns เป็น 192.168.0.12
ให้ตั้งค่าในแฟ้ม /etc/network/interfaces เป็นตัวอย่างประมาณว่า
auto eth0
iface eth0 inet static
address 192.168.0.10
netmask 255.255.255.0
gateway 192.168.0.1
ให้ตั้งค่าในแฟ้ม /etc/resolv.conf เป็นตัวอย่างประมาณว่า
nameserver 192.168.0.11
แล้วสั่งให้ network ทำงานใหม่ด้วยคำสั่ง sudo /etc/init.d/networking restart ทดสอบให้มั่นใจว่าใช้งาน network ได้ดี
- ปิดเครื่อง PC แล้วเสียบ LAN card เพิ่มเข้าไปใน PC แล้วให้บูทเครื่อง PC นี้ใหม่
ตั้งค่า eth1 ให้มี ip ตามต้องการ ตัวอย่างนี้สมมติว่าเป็นเลข 10.0.3.1
ให้ตั้งค่าในแฟ้ม /etc/network/interfaces เป็นตัวอย่างประมาณว่า
auto eth1
iface eth1 inet static
address 10.0.3.1
netmask 255.255.255.0
แล้วสั่งให้ network ทำงานใหม่ด้วยคำสั่ง sudo /etc/init.d/networking restart ทดสอบให้มั่นใจว่าใช้งาน network ได้ดี - หากต้องการให้ eth1 ทำตัวเป็น dhcp server ด้วย ให้ทำดังนี้
ติดตั้ง dhcpd ด้วยคำสั่ง sudo apt-get install dhcp3-server